วันพฤหัสบดีที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2558

(บทนำ) การวิจักษ์วรรณคดี

         วรรณคดี เป็นหนังสือแต่งดี มีคุณค่าด้านเนื้อหาสาระและคุณค่าทางวรรณศิลป์ การที่จะนิยมหรือยอมรับว่าหนังสือเรื่องใดแต่งดีหรือมีคุณค่า ผู้อ่านต้องสนใจใคร่รู้และควรอ่านอย่างไตร่ตรองให้ถ่องแท้ เพื่อจะได้เข้าใจในเรื่องราว และได้รับอรรถรสของบทประพันธ์โดยผู้อ่านอาจจะพิจารณาว่า    อ่านเพิ่มเติม


วันพุธที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

(หน่วยการเรียนรู้ที่ 8) มหาชติหรือมหาเวสสันดร

          พุทธศาสนิกชนชาวไทยนับถือกันมาแต่ครั้งโบราณว่า มหาเวศสันดรเป็นชาดกที่สำคัญกว่าชาดกเรื่องอื่น เพราะว่าด้วยเรื่องราวที่ปรากฏบารมีของพระโพธิสัตว์อยู่โดยบนิบูรณ์ทั้ง ๑๐ บารมี นอกจากนี้ยังมีผู้นำมหาเวสสันดรชาดกไปแต่งเป็น    อ่านเพิ่มเติม

(หน่วยการเรียนรู้ที่ 7) มงคลสูตรคำฉันท์

           เมื่อ พ.ศ. 2466 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในรัชกาลที่6 ทรงนำมงคลสูตรมาทรงพระราชนิพนธ์เป็นบทร้อยกรองประเกทคำฉันท์ โดยใช้คำประพันธ์ 2 ชนิด คือกาพย์ฉบัง 16 และอินทรวิเชียรฉันท์ 11 ทรงนำคาถาภาษาบาลีจาก   อ่านเพิ่มเติม

(หน่วยการเรียนรู้ที่ 6) ทุกข์ของชาวนาในบทกวี

           บทความเรื่อง ทุกข์ของชาวนาในบทกวี มีที่มาจากหนังสือรวบรวมบทพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เรื่อง มณีพลอยร้อยแสง ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดฯให้จัดพิมพ์ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2533 ในวโรกาสที่พระองค์ทรงเจริญพระชนมายุครบ 3 รอบ โดย    อ่านเพิ่มเติม


(หน่วยการเรียนรู้ที่ 5) เรื่องหัวใจชายหนุ่ม

           หัวใจชายหนุ่ม เป็นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยทรงใช้พระนามแฝงว่า รามจิตติ เพื่อพระราชทานลงพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ ดุสิตสมิต เมื่อ พ..๒๔๖๔ ลักษณะการพระราชนิพนธ์เป็นรูปแบบของจดหมาย มีจำนวน ๑๘ ฉบับ รวมระยะเวลาที่  อ่านเพิ่มเติม


(หน่วยการเรียนรู้ที่ 4) นิราศนริทร์คำโคลง

           นิราศ เป็นงานประพันธ์ประเภทหนึ่งของไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ เท่าที่ปรากฏหลักฐานในปัจจุบัน นิราศเรื่องแรกของไทยนั้นคือ โคลงนิราศหริภุญชัย ซึ่งแต่งในสมัยกรุงศรีอยุธยา   อ่านเพิ่มเติม

(หน่วยการเรียนรู้ที่ 3) นิทานเวตาล เรื่องที่ 10


          นิทานเวตาล ฉบับนิพนธ์ พระราชวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ มีที่มาจากวรรณกรรมสันสกฤตของอินเดีย  โดยมีชื่อเดิมว่า เวตาลปัญจวิงศติศิวทาสได้แต่งไว้ในสมัยโบราณ  ต่อมาได้มีผู้นำนิทานเวตาลทั้งฉบับภาษาสันสกฤตและภาษาฮินดีมาแปลเป็นภาษาอังกฤษ โดย  อ่านเพิ่มเติม